สนับสนุนโฆษณา บ้างก็ดีนะครับ จะได้มีแรงมาเขียนต่อ
วันเสาร์ที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2552
REMOTE I/O
สนับสนุนโฆษณา บ้างก็ดีนะครับ จะได้มีแรงมาเขียนต่อ
Remote I/O
1. Serial Communication Link
2. CPU
3. Serial Interface Module
4. Remote I/O Adapter Module
5. Profibus Module
6. Ethernet Module
Remote I/O
1. Serial Communication Link
2. CPU
3. Serial Interface Module
4. Remote I/O Adapter Module
5. Profibus Module
6. Ethernet Module
ADVANCE I/O UNIT
สนับสนุนโฆษณา บ้างก็ดีนะครับ จะได้มีแรงมาเขียนต่อ
ADVANCE I/O UNIT
• HIGH-SPEED COUNTER MODULE
• MOTION CONTROL MODULE
• PID MODULE
• TEMPERATURE INPUT MODULE
• Etc.
ADVANCE I/O UNIT
• HIGH-SPEED COUNTER MODULE
• MOTION CONTROL MODULE
• PID MODULE
• TEMPERATURE INPUT MODULE
• Etc.
ANALOG I/O UNIT
สนับสนุนโฆษณา บ้างก็ดีนะครับ จะได้มีแรงมาเขียนต่อ
ANALOG I/O UNIT
ANALOG INPUT UNIT ทำหน้าที่แปลงสัญญาณต่อเนื่อง ( Analog)
ที่ได้รับมาจากกระบวนการ ให้เป็นข้อมูลเชิงตัวเลข เพื่อส่งให้หน่วย
ประมวลผลต่อไป
ANALOG OUTPUT UNIT ทำหน้าที่แปลงข้อมูลเชิงเลขที่ได้มาจาก
หน่วยประมวลผล ให้เป็นสัญญาณต่อเนื่องในรูปของกระแสหรือ
แรงดัน เพื่อส่งออกไปควบคุมกระบวนการภายนอกต่อไป
Standard Analog I/O Interface Rating
Analog Input
Analog Output
4 to 20 mA
4 to 20 mA
1 to 5 V DC
1 to 5 V DC
0 to 10 V DC
0 to 10 V DC
0 to +10 or -10 V DC
0 to +10 or -10 V DC
ANALOG I/O UNIT
ANALOG INPUT UNIT ทำหน้าที่แปลงสัญญาณต่อเนื่อง ( Analog)
ที่ได้รับมาจากกระบวนการ ให้เป็นข้อมูลเชิงตัวเลข เพื่อส่งให้หน่วย
ประมวลผลต่อไป
ANALOG OUTPUT UNIT ทำหน้าที่แปลงข้อมูลเชิงเลขที่ได้มาจาก
หน่วยประมวลผล ให้เป็นสัญญาณต่อเนื่องในรูปของกระแสหรือ
แรงดัน เพื่อส่งออกไปควบคุมกระบวนการภายนอกต่อไป
Standard Analog I/O Interface Rating
Analog Input
Analog Output
4 to 20 mA
4 to 20 mA
1 to 5 V DC
1 to 5 V DC
0 to 10 V DC
0 to 10 V DC
0 to +10 or -10 V DC
0 to +10 or -10 V DC
DISCRETE OUTPUT UNIT
รูปร่าง หน้าตาอุปกรณ์ Discrete Input
DISCRETE INPUT UNIT
หน่วยอินพุต-เอาต์พุต(Input-Output Unit)
โครงสร้างโดยทั่วไปของ PLC
สนับสนุนโฆษณา บ้างก็ดีนะครับ จะได้มีแรงมาเขียนต่อ
โครงสร้างโดยทั่วไปของ PLC
หน่วยประมวลผล (CPU Unit)
ห น่ ว ย ป ร ะ ม ว ล ผ ล ทำ ห น้ า ที่ ค ว บ คุม
ระบบทั้งหมด โดยรับข้อมูลอินพุตเข้ามาทำการ
ประมวลผล แล้วส่งผลที่ได้ออกไป
หนวยความจำ (Memory Unit)
ห น ว ย ค ว า ม จำ ใ ช้ เ ป็ น ที่ เ ก็ บ โ ป ร แ ก ร ม
แบ่งเป็น
1. Program Memory
2. Data Memory
หนวยอินพุต-เอาต์พุต (Input-Output Unit)
หน่วยอินพุต ทำหน้าที่รับสัญญาณจากอุปกรณ์ภายนอก แล้ว
แปลงสัญญาณให้เป็นสัญญาณที่เหมาะสม เพื่อส่งไปให้แก่
หน่วยประมวลต่อไป
หน่วยเอาต์พุต รับค่าสภาวะที่ได้จากการประมวลผลของหนวย
ประมวลผล เพื่อนำค่าสภาวะเหล่านั้นไปควบคุมอุปกรณ์ภาย
นอก
อุปกรณ์ต่อร่วม (Peripheral Devices)
• PROGRAMMING CONSOLE
• EPROM WRITER
• PRINTER
• GRAPHIC PROGRAMMING
• CRT MONITOR
• HANDHELD
• etc
หน่วยจ่ายพลังงาน (Power Supply Unit)
ทำหน้าที่จ่ายพลังงานให้กับหน่วยอื่น โดยจะทำการแปลงระดับ
แรงดันไฟฟ้าให้เหมาะสม
โครงสร้างโดยทั่วไปของ PLC
หน่วยประมวลผล (CPU Unit)
ห น่ ว ย ป ร ะ ม ว ล ผ ล ทำ ห น้ า ที่ ค ว บ คุม
ระบบทั้งหมด โดยรับข้อมูลอินพุตเข้ามาทำการ
ประมวลผล แล้วส่งผลที่ได้ออกไป
หนวยความจำ (Memory Unit)
ห น ว ย ค ว า ม จำ ใ ช้ เ ป็ น ที่ เ ก็ บ โ ป ร แ ก ร ม
แบ่งเป็น
1. Program Memory
2. Data Memory
หนวยอินพุต-เอาต์พุต (Input-Output Unit)
หน่วยอินพุต ทำหน้าที่รับสัญญาณจากอุปกรณ์ภายนอก แล้ว
แปลงสัญญาณให้เป็นสัญญาณที่เหมาะสม เพื่อส่งไปให้แก่
หน่วยประมวลต่อไป
หน่วยเอาต์พุต รับค่าสภาวะที่ได้จากการประมวลผลของหนวย
ประมวลผล เพื่อนำค่าสภาวะเหล่านั้นไปควบคุมอุปกรณ์ภาย
นอก
อุปกรณ์ต่อร่วม (Peripheral Devices)
• PROGRAMMING CONSOLE
• EPROM WRITER
• PRINTER
• GRAPHIC PROGRAMMING
• CRT MONITOR
• HANDHELD
• etc
หน่วยจ่ายพลังงาน (Power Supply Unit)
ทำหน้าที่จ่ายพลังงานให้กับหน่วยอื่น โดยจะทำการแปลงระดับ
แรงดันไฟฟ้าให้เหมาะสม
INTRODUCTION TO PLC
สนับสนุนโฆษณา บ้างก็ดีนะครับ จะได้มีแรงมาเขียนต่อ
ที่มา : บทความนี้ จาก อ.ศิริพงษ์ วงศ์คาร
PLC คืออะไร?
Programmable Logic Controller เครื่องควบคุมเชิงตรรกที่สามารถโปรแกรมได้
• PC : Programmable Controller
(มีต้นกำเหนิดจากสหราชอาณาจักร)
PLC : Programmable Logic Controller
(มีต้นกำเหนิดจากประเทศสหรัฐอเมริกา)
PBS : Programmable Binary System
(มีต้นกำเหนิดจากประเทศสวีเดน)
PLC เป็นเครื่องควบคุมอัตโนมัตในโรงงานอุตสาหกรรม
ที่สามารถจะโปรแกรมได้
PLC ถูกสร้างและพัฒนาขื้นมาเพื่อทดแทนวงจรรีเลย์
อันเนื่องมาจากความต้องการที่อยากจะได้เครื่องควบ
คุมที่มีราคาถูก, สามารถใช้งานได้อย่างเอนกประสงค์
และสามารถเรียนรู้การใช้งานได้ง่าย
ข้อแตกต่างระหวาง PLC กบ COMPUTER
1. PLC ถูกออกแบบ และสร้างขึ้นเพื่อให้ทนต่อสภาพแวดล้อมในโรง
งานอุตสาหกรรมโดยเฉพาะ
2. การโปรแกรมและการใช้งาน PLC ทำได้ง่ายไม่ยุ่งยากเหมือน
คอมพิวเตอร์ทั่วไป PLC มีระบบการตรวจสอบตัวเองตั้งแต่ช่วงติด
ตั้งจนถึงช่วงการใช้งาน ทำให้การบำรุงรักษาทำได้ง่าย
3. PLC ถูกพัฒนาให้มีความสามารถในการตัดสินใจสูงขึ้นเรื่อย ๆ ทำให้
การใช้งานสะดวก ขณะที่วิธีใช้คอมพิวเตอร์ยุ่งยากและซับซ้อนขึ้น
เรื่อย ๆ
ประวัต PLC
ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
ค.ศ. 1969
PLC ได้ถูกพัฒนาขึ้นมาครั้งแรกโดย บริษท Bedford
Associates โดยใช้ชื่อว่า Modular Digital Controller
(Modicon) ให้กับโรงงานผลิตรถยนตในอเมริกาชื่อ
General Motors Hydramatic Division
บริษัท Allen-Bradley ได้เสนอระบบควบคุมโดยใช้ชื่อว่า
PLC
ค.ศ. 1970-1979
ได้มีการพัฒนาให้ PLC มีการประมวลผลที่เร็วมากขึ้น
ตามการเปลี่ยนแปลงของ Micro-processor
ความสามารถในการสื่อสารข้อมูลระหว่าง PLC กับ
PLC โดยระบบแรกคือ Modbus ของ Modicon
เริ่มมีการใช้อินพุท/เอาท์พุทที่เป็นสัญญาณ Analog
ค.ศ. 1980-1989
มีความพยายามที่จะสร้างมาตรฐานในการสื่อสารข้อมูลของ
PLC โดยบริษัท General Motor ได้สร้างโปรโตคอลที่เรียกว่า
manufacturing automation protocal (MAP)
ขนาดของ PLC ลดลงเรื่อย ๆ
ผลิตซอฟแวร์ที่สามารถโปรแกรม PLC ดวยภาษา symbolic
โดยสามารถโปรแกรมผ่านทาง personal computer แทนที่จะ
โปรแกรมผ่านทาง handheld หรือ programing terminal
ค.ศ. 1990-ปัจจุบน
มีความพยายามในการที่จะทำให้ภาษาที่ใช้ในการโปรแกรม PLC
มีมาตราฐานเดียวกันโดยใช้มาตรฐาน IEC1131-3
สามารถโปรแกรม PLC ได้ด้วย
- IL (Instruction List)
- LD (Ladder Diagrams)
- FBD (Function Block Diagrams)
- SFC (Sequential Function Chart)
- ST (Structured Text)
ที่มา : บทความนี้ จาก อ.ศิริพงษ์ วงศ์คาร
PLC คืออะไร?
Programmable Logic Controller เครื่องควบคุมเชิงตรรกที่สามารถโปรแกรมได้
• PC : Programmable Controller
(มีต้นกำเหนิดจากสหราชอาณาจักร)
PLC : Programmable Logic Controller
(มีต้นกำเหนิดจากประเทศสหรัฐอเมริกา)
PBS : Programmable Binary System
(มีต้นกำเหนิดจากประเทศสวีเดน)
PLC เป็นเครื่องควบคุมอัตโนมัตในโรงงานอุตสาหกรรม
ที่สามารถจะโปรแกรมได้
PLC ถูกสร้างและพัฒนาขื้นมาเพื่อทดแทนวงจรรีเลย์
อันเนื่องมาจากความต้องการที่อยากจะได้เครื่องควบ
คุมที่มีราคาถูก, สามารถใช้งานได้อย่างเอนกประสงค์
และสามารถเรียนรู้การใช้งานได้ง่าย
ข้อแตกต่างระหวาง PLC กบ COMPUTER
1. PLC ถูกออกแบบ และสร้างขึ้นเพื่อให้ทนต่อสภาพแวดล้อมในโรง
งานอุตสาหกรรมโดยเฉพาะ
2. การโปรแกรมและการใช้งาน PLC ทำได้ง่ายไม่ยุ่งยากเหมือน
คอมพิวเตอร์ทั่วไป PLC มีระบบการตรวจสอบตัวเองตั้งแต่ช่วงติด
ตั้งจนถึงช่วงการใช้งาน ทำให้การบำรุงรักษาทำได้ง่าย
3. PLC ถูกพัฒนาให้มีความสามารถในการตัดสินใจสูงขึ้นเรื่อย ๆ ทำให้
การใช้งานสะดวก ขณะที่วิธีใช้คอมพิวเตอร์ยุ่งยากและซับซ้อนขึ้น
เรื่อย ๆ
ประวัต PLC
ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
ค.ศ. 1969
PLC ได้ถูกพัฒนาขึ้นมาครั้งแรกโดย บริษท Bedford
Associates โดยใช้ชื่อว่า Modular Digital Controller
(Modicon) ให้กับโรงงานผลิตรถยนตในอเมริกาชื่อ
General Motors Hydramatic Division
บริษัท Allen-Bradley ได้เสนอระบบควบคุมโดยใช้ชื่อว่า
PLC
ค.ศ. 1970-1979
ได้มีการพัฒนาให้ PLC มีการประมวลผลที่เร็วมากขึ้น
ตามการเปลี่ยนแปลงของ Micro-processor
ความสามารถในการสื่อสารข้อมูลระหว่าง PLC กับ
PLC โดยระบบแรกคือ Modbus ของ Modicon
เริ่มมีการใช้อินพุท/เอาท์พุทที่เป็นสัญญาณ Analog
ค.ศ. 1980-1989
มีความพยายามที่จะสร้างมาตรฐานในการสื่อสารข้อมูลของ
PLC โดยบริษัท General Motor ได้สร้างโปรโตคอลที่เรียกว่า
manufacturing automation protocal (MAP)
ขนาดของ PLC ลดลงเรื่อย ๆ
ผลิตซอฟแวร์ที่สามารถโปรแกรม PLC ดวยภาษา symbolic
โดยสามารถโปรแกรมผ่านทาง personal computer แทนที่จะ
โปรแกรมผ่านทาง handheld หรือ programing terminal
ค.ศ. 1990-ปัจจุบน
มีความพยายามในการที่จะทำให้ภาษาที่ใช้ในการโปรแกรม PLC
มีมาตราฐานเดียวกันโดยใช้มาตรฐาน IEC1131-3
สามารถโปรแกรม PLC ได้ด้วย
- IL (Instruction List)
- LD (Ladder Diagrams)
- FBD (Function Block Diagrams)
- SFC (Sequential Function Chart)
- ST (Structured Text)
แนะนำเวปบล็อกนี้กันก่อนครับ
เวปนี้ผมสร้างขึ้นมาเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้การควบคุมอัตฺโนมัติ (Automation ) โดยพยายามจะรวบรวม บทความต่างๆที่มีผู้เขียนขึ้นมาเป็นภาษาไทยและต่างประเทศ พยายาม ที่จะไม่ยุ่งเกี่ยวกับการละเมิดลิขสิทธิ์นะครับ แค่เป็นวิชาความรู้สำหรับให้น้องๆพี่ๆไว้ทำรายงานหรือศึกษาเพิ่มเติมกันก็ยังดี ครับ อ้อ ช่วยกันอุดหนุนโฆษณา นิดนึงก็ดีนะครับ เพื่อให้มีทุนทำเวปนี้ต่อไปอีกนานๆ
เนื้อเรื่องทั้งหมดจะ เขียนในเรื่องของ
1. PLC
2. HMI
3. Inverter Drive
4. Instrument
ต้องขอบอกกล่าวกันก่อนนะครับ ผมไม่ใช่คนเก่งมากมายอะไร แม้แต่ทุกวันนี้ก็ยังต้องเรียนรู้เพิ่มเติมอยู่เสมอ ยินดีรับทุกความคิดเห็นและความช่วยเหลือจากทุกๆคน
สังคมที่ดี คือสังคมที่มีการแบ่งปัน
เนื้อเรื่องทั้งหมดจะ เขียนในเรื่องของ
1. PLC
2. HMI
3. Inverter Drive
4. Instrument
ต้องขอบอกกล่าวกันก่อนนะครับ ผมไม่ใช่คนเก่งมากมายอะไร แม้แต่ทุกวันนี้ก็ยังต้องเรียนรู้เพิ่มเติมอยู่เสมอ ยินดีรับทุกความคิดเห็นและความช่วยเหลือจากทุกๆคน
สังคมที่ดี คือสังคมที่มีการแบ่งปัน
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)